เนื้อหา: Knowledge Base

Knowledge Base
ระบบการจัดการเนื้อหาเกี่ยวกับฐานความรู้ของตัวเว็บไซต์

ตัวอย่างฐานความรู้ที่หน้าเว็บไซต์

​​​​​​​

- Item: แสดงฐานความรู้ทั้งหมดที่มีการเพิ่มไว้
- หมวดหมู่: ตัวจัดการหมวดหมู่ของ Knowledge Base ที่ใช้เชื่อมกับ item


Item
แสดงฐานความรู้ทั้งหมดที่มีการเพิ่มไว้ แบ่งการใช้งานเป็น เพิ่มรายการ กับ ดำเนินการ


1. ช่องกรอกค้นหา
ใช้สำหรับกรอกค้นหาฐานความรู้

2. ปุ่มเพิ่มรายการ
ใช้สำหรับเพิ่มรายการใหม่ เมื่อกดจะแสดงหน้าต่างใหม่ขึ้นมา
วิธีใช้งาน: กดคลิกที่ปุ่มเพิ่มรายการ จะแสดงหน้าต่างใหม่ขึ้นมา แบ่งเป็น 2 แถบ

  2.1 แถบบทนำ
        แถบรายละเอียดเบื้องต้นของฐานความรู้​​​​​​​



    1) Title: ตั้งชื่อรายการ แบ่งตามภาษา เช่น Title (th) เป็นที่ใส่ชื่อรายการหน้าภาษาไทย
    2) Slug: ตั้งชื่อ Slug ของรายการ ให้ตั้งเป็นภาษาอังกฤษตัวพิมพ์เล็กทั้งหมด ห้ามเว้นวรรค แต่ใช้ขีดกลางหรือขีดล่างได้ (ห้ามซ้ำกับที่เคยตั้งแล้ว)
    3) Status: เลือก Show เพื่อให้แสดงรายการ หรือเลือก Draft เพื่อทำการซ่อนรายการ
    4) Relation: เลือกความสัมพันธ์ของรายการ Auto เป็นแบบอัตโนมัติ และ Manual เป็นแบบจัดการด้วยตัวเอง



    5) Category: เลือกหมวดหมู่ฐานความรู้ที่ต้องการให้รายการนี้ไปอยู่
    6) Intro: ช่องกรอกบทนำของรายการ แบ่งตามภาษา เช่น Intro (th) เป็นที่ใส่บทนำหน้าภาษาไทย
    7) URL: ช่องกรอก Url ของรายการ
    8) Attachment: ช่องแนบไฟล์ โดยการลากไฟล์จากในคอมพิวเตอร์มาวางที่ Choose file หรือกดคลิกปุ่ม Browse แล้วเลือกไฟล์ที่อยู่ในคอมพิวเตอร์

  2.2 แถบรายละเอียด
        แถบกรอกรายละเอียดของเนื้อหา
​​​​​​​


  Body: ช่องกรอกรายละเอียดของรายการ แบ่งตามภาษา เช่น Body (th) เป็นที่ใส่รายละเอียดของรายการหน้าภาษาไทย

​​​​​​  *หลังทำการบันทึก ให้กดแก้ไข จะมีแถบเพิ่มมาอีก 3 แถบ 

  2.3 แถบรูปภาพ
        แถบเพิ่ม หรือแก้ไขรูปที่มีการใส่ไว้
        วิธีใช้งาน: ​​​​​​​ลากรูปจากในคอมพิวเตอร์มาวางที่ วางไฟล์ที่นี่ หรือกดคลิกในช่องวางไฟล์ที่นี่ แล้วเลือกรูปที่อยู่ในคอมพิวเตอร์
​​​​​​​​​

        1) ลากรูปจากในคอมพิวเตอร์มาวางที่ วางไฟล์ที่นี่ หรือกดคลิกในช่องวางไฟล์ที่นี่ แล้วเลือกรูปที่อยู่ในคอมพิวเตอร์
​​​​​​​​​​​        2) ดำเนินการ: เป็นตัวจัดการรูปที่มีการใส่ไว้ แบ่งเป็น แก้ไข กับลบ​​​​​​​
​​​​​​​
  ​​​​​​​      แก้ไข



  ​​​​​​​      แถบ Intro
​​​​​​​          1) File Replace: ไว้สำหรับเปลี่ยนรูปใหม่ โดยลากรูปจากในคอมพิวเตอร์มาวาง หรือกดคลิกที่ปุ่ม Browse แล้วเลือกรูปที่อยู่ในคอมพิวเตอร์
​​​​​​​          2) Title: ใส่ชื่อหัวข้อรูป แบ่งตามภาษา เช่น Title (th) เป็นที่ใส่ชื่อหัวข้อรูปหน้าภาษาไทย
​​​​​​​          3) Status: 
              - Active: เลือกเพื่อแสดงรูปนี้
              - Disable: เลือกเพื่อปิดการแสดงรูปนี้
​​​​​​​          4) Description: ใส่ข้อความรูปในส่วนรายละเอียด แบ่งตามภาษา เช่น Description (th) เป็นที่ใส่ข้อความหน้าภาษาไทย​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​



​​​​​​​          5) Intro: ใส่ข้อความรูปในส่วนบทนำ แบ่งตามภาษา เช่น intro (th) เป็นที่ใส่ข้อความหน้าภาษาไทย​​​​​​​
​​​​​​​          6) URL: ช่องสำหรับใส่ลิงก์รูป เช่น ใส่ /products เพื่อไปหน้ารวมสินค้า
​​​​​​​          7) Text Link: ใส่ข้อความสำหรับปุ่มลิงก์ แบ่งตามภาษา เช่น Text Link (th) เป็นที่ใส่ข้อความหน้าภาษาไทย​​​​​​​
​​​​​​​          8) Text Position: เลือกตำแหน่งของข้อความ
​​​​​​​              - Do not setting: ไม่ตั้งค่า
​​​​​​​              - ​​​​​​​Center: เลือกให้ตำแหน่งของข้อความอยู่ตรงกลาง
​​​​​​​              - ​​​​​​​Left: เลือกให้ตำแหน่งของข้อความอยู่ทางซ้าย
​​​​​​​              - ​​​​​​​Right: เลือกให้ตำแหน่งของข้อความอยู่ทางขวา
​​​​​​​              - ​​​​​​​None: ไม่เลือก
​​​​​​​          9)URL 2 (optional):​​​​​​ ​ เหมือนข้อ 6) แต่เป็นกรณีที่มีปุ่มกดลิงก์ปุ่มที่ 2
​​​​​​​          10) Text Link 2 (optional): เหมือนข้อ 7) แต่เป็นกรณีที่มีปุ่มกดลิงก์ปุ่มที่ 2



​​​​​​​          11) Filter BG: ตัวจัดการพื้นหลัง
                - เลือก Yes: เพื่อให้แสดงพื้นหลัง
                - เลือก No: เพื่อไม่ให้แสดงพื้นหลัง​​​​​
​​​​​​​          12) Show text on banner: ตัวจัดการข้อความบนแบนเนอร์
                - เลือก Yes: เพื่อให้แสดงข้อความที่มีการใส่ไว้
                - เลือก No: เพื่อไม่ให้แสดงข้อความที่มีการใส่ไว้​​​​​



​​​​​​​          13) Video Stream: 
                - เลือก No: กรณีที่ไม่ต้องการให้รูปมีการเล่นวีดิโอ
                - เลือก Yes: กรณีต้องการให้รูปมีการเล่นวีดิโอ ถ้าเลือก 
​​​​​​​
        *กรณีที่เลือก Yes ให้ทำการกดบันทึกก่อน 1 ครั้ง แล้วค่อยกดแก้ไขใหม่ จะแสดงแถบ Video Stream เพิ่มมา

​​​​​​​      แถบ Video Stream: แถบจัดการวิดีโอ


​​​​​​​ 
​​​​​​​          1) Video: กดเลือกวีดิโอที่มีการใส่อัพโหลดไว้
​​​​​​​          2) Preload: ปรับเลือกว่าต้องการให้โหลดล่วงหน้าหรือไม่ 
​​​​​​​          3) Loop: ปรับเลือกว่าต้องการให้วีดิโอแสดงวนซ้ำหรือไม่
​​​​​​​          4) Control: ปรับเลือกว่าต้องการให้มีการเมนูควบคุมวีดิโอหรือไม่
​​​​​​​          5) Auto Play: ปรับเลือกว่าต้องการให้วีดิโอเล่นอัตโนมัติหรือไม่
​​​​​​​          6) Muted: ปรับเลือกว่าต้องการให้ปิดเสียงวีดิโอหรือไม่

​​​​​​​      แถบ Tag: ติ๊กเลือก Tag ที่เกี่ยวข้อง​​​​​​​

  2.4 ปรับแต่ง SEO



    1) Title: ตั้งชื่อหัวข้อปรับแต่ง SEO แบ่งตามภาษา เช่น Title (th) เป็นที่ใส่ชื่อหัวข้อปรับแต่ง SEO หน้าภาษาไทย
    2) Description: ช่องกรอกรายละเอียดปรับแต่ง SEO แบ่งตามภาษา เช่น Description (th) เป็นที่กรอกรายละเอียดปรับแต่ง SEO หน้าภาษาไทย

  2.5 ลิงก์เว็บ: เป็นแถบที่แสดงให้ทราบว่ารายการที่เลือกมีการนำไปใช้ที่เว็บไซต์ไหนบ้าง



​​​​​​​    1) เพิ่มเว็บ: เพิ่มเว็บที่ต้องการนำแกลอรี่ไปใช้งาน
    2) ดำเนินการ: ตัวจัดการลิงก์เว็บ
     ​​​​​​​  - ลบ: ลบลิ้งค์ออกจากเว็บไซต์ที่เลือก

3. ปุ่มดำเนินการ
เป็นปุ่มสำหรับจัดการรายการที่มีการสร้างไว้แล้ว
​​​​​​​- แก้ไข: แก้ไขรายการที่ทำการเพิ่มไว้
​​​​​​​- ลบ: ​​​​​​​กดเพื่อทำการลบรายการที่ไม่ต้องการใช้ออก เมื่อกดจะมีหน้าต่างขึ้นมา ถ้ายืนยันที่จะลบให้กดปุ่มตกลง


หมวดหมู่
ตัวจัดการหมวดหมู่ของ Knowledge Base ที่ใช้เชื่อมกับ item แบ่งการใช้งานเป็น 2 ส่วน


​​​​​​​  ​​​​​​​1. ด้านซ้ายแสดงหมวดหมู่ทั้งหมด กดคลิกที่หมวดหมู่จะเป็นการแก้ไขรายละเอียดของหมวดหมู่ที่สร้างไว้ 
  2. ด้านขวาเพิ่มหมวดหมู่ใหม่ แบ่งการเพิ่มหมวดหมู่เป็น 2 กรณี ดังนี้
      2.1 กรณีที่มีการคลิกที่หมวดหมู่ด้านซ้ายไว้ก่อน ช่องกรอกจะแสดงข้อมูลที่มีอยู่แล้ว ใช้สำหรับแก้ไขหมวดหมู่ ให้กดคลิกปุ่มเพิ่มหมวดหมู่ที่บนขวา หรือกดรีเฟรชหน้า
      2.2 กรณีที่ช่องกรอกว่างอยู่ ทำการกรอกรายละเอียดหมวดหมู่ที่ต้องการสร้างใหม่ได้เลย           
​​​​​​​            1) Title: ช่องกรอกชื่อหมวดหมู่ แบ่งตามภาษา เช่น Title (th) เป็นที่ใส่ชื่อหมวดหมู่หน้าภาษาไทย
            2) ​​​​​​​Slug: ช่องกรอกชื่อ Slug ของหมวดหมู่ ให้ตั้งเป็นภาษาอังกฤษตัวพิมพ์เล็กทั้งหมด ห้ามเว้นวรรค แต่ใช้ขีดกลางหรือขีดล่างได้ (ห้ามซ้ำกับที่เคยตั้งแล้ว)
            3) Status: เลือก Show เพื่อให้แสดงหมวดหมู่ หรือเลือก Draft เพื่อทำการซ่อนหมวดหมู่
            4) Parent: เลือกให้หมวดหมู่ใหม่ เป็นหมวดหมู่ย่อย (หากไม่ต้องการให้เป็นหมวดหมู่ย่อยไม่ต้องเลือก)
            5) Description: ช่องกรอกรายละเอียดหมวดหมู่ แบ่งตามภาษา เช่น Description (th) เป็นที่กรอกรายละเอียดหมวดหมู่หน้าภาษาไทย